Thursday, 1 December 2016

เรียนยังไงได้เกรด4ชีววิทยา

ทำยังไงถึงจะได้เกรด 4 ชีววิทยา
อันดับที่ 1 การหาหนังสือดีๆมาอ่าน
การอ่านหนังสือดีๆมาหานั้นเราต้องเลือกผู้แต่งเลือกสำนักพิมพ์เลือกความทันสมัยของหนังสือนะครับเพราะว่าถ้าหนังสือลาสมัยแล้วความรู้ก็อาจจะไม่ถูกต้องเพราะว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่หยุดนิ่งนะครับสามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้ามีข้อมูลมีกี่สตรีหรือมีกรดที่สามารถอธิบายแสดงเหตุผลได้ดีกว่า นอกจากนี้เราต้องดูว่าเนื้อหาในหนังสือนั้นมันสามารถทำให้เราอ่านแล้วเข้าใจง่ายขึ้นไหมนะครับจะมีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ที่ simplify หรือว่ามันง่ายนะครับก็จะทำให้เราเข้าใจง่ายขึ้นมีชาร์ตมีแต่ diaigram แต่มีแผนภูมิที่ทำให้เราได้สามารถเข้าใจง่ายขึ้นนะครับ ที่สำคัญเราอย่ายึดติดตำราเพียงแค่เล่ม เราอาจจะใช้ตำราที่หลากหลายหลายสำนักพิมพ์รายผู้แต่งเดิมมาผนวกดูความละเอียดของแต่ละเล่มแต่ละผู้แต่งหน้าฟ้าอันไหนที่สอดคล้องแล้วก็ทำให้เราจะเข้าใจได้ง่ายขึ้นเพราะว่าหนังสือแต่ละเล่มผู้แต่งแต่ละคนนั้นก็จะมีทักษะกระบวนการในการถ่ายทอดที่แตกต่างกันออกไปนะครับ อย่างเช่นถ้าเราชอบตำราแบบเป็นวิชาการจะอะไรแล้วก็อาจจะใช้อาจารย์พรรณีนะครับของมหาวิทยาลัยจุฬาได้ หรืออาจจะเป็นของมอเกษตรก็ได้แต่ถ้าเราอยาก ถ้าเราอยากเข้าใจง่ายๆตามหลักการของวัยรุ่นทั่วไปก็ไม่จำเป็นจะต้องเปลี่ยนลึกเกินไปก็อาจจะใช้หนังสือของพี่แตนนะครับที่สรุปความรู้ของชีววิทยา

อันดับที่ 2 ทบทวนความรู้ก่อนเรียนเรื่องใหม่อยู่เสมอ
ก็หมายความว่าก่อนที่เราจะเรียนเนื้อหาต่อไปเราต้องเข้าใจเนื้อหาก่อนหน้าที่คุณครูสอนนั้นเป็นอย่างดีนะครับเพราะว่าจะทำให้เราสามารถมีพื้นฐานที่จะไปต่อยอดความรู้ใหม่มาผนวกกับความรู้เดิมที่เรามีอยู่จะทำให้เราสามารถเชื่อมโยงความรู้แล้วก็สามารถเกิดเป็นภาษา sorry จะเราจะเข้าใจได้ง่ายขึ้น

อันดับที่ 3 ทำแบบฝึกหัด
สำหรับการทำแบบฝึกหัดนี้จะเป็นการที่จะช่วยให้เราเข้าใจเนื้อหาและก็เป็นการรีไว้หรือทบทวนความรู้ของเราว่าเราเข้าใจถูกต้องมากน้อยเพียงใดนะครับเครื่องแบบฝึกหัดที่ดีก็ควรที่จะมีบทเฉลยที่เป็นเนื้อหาอย่างละเอียดนะไม่ใช่ตอบว่าเป็นก้อนหนึ่งตอบก็ตอบเขาตอบก็ตามนอกมันไม่ช่วยให้เราเข้าใจมากขึ้นและความรู้เราก็ฉันไม่เพิ่มพูน
อันดับที่ 4 ทำสรุปคำสรุปเนื้อหาย่อ หรือที่เขาเรียกว่า summary
จะทำให้เรานั้นเกิดความรู้ที่เรียกว่าตกผลึกอาจจะทำเป็นมายแมพปิ้ง หรือแผนผังความคิด หรือทำเป็นสรุปโน้ตย่อตามที่เราเข้าใจซึ่งเราอาจจะใช้รูปแบบที่หลากหลายที่ทำให้เราสามารถย่อเนื้อหาหลังจากที่เราอ่านแล้วนะครับก็สรุปออกมาเป็นความรู้ที่เราได้จากการอ่านเรื่องนั้นนั้น ซึ่งเรื่องการทํามายแมปปิ้งนั้นก็จะมีรายละเอียดอีกหลากหลายเดี๋ยวจะเอามาเล่าให้ฟังอีกแต่คลิปต่อไป
อันดับที่ 5 เป็นติวเตอร์ให้เพื่อนๆ หรือรุ่นน้อง
 เมื่อเราอ่านหนังสือเราต้องทวนความรู้เราทำโจทย์เราทำสมาธิในการเรียนชีววิทยาเสร็จแล้วนะเราจะต้อง มีการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้เข้าใจเพื่อดำเนินการรีไว้อีกรอบหนึ่งว่าเราสามารถเข้าใจได้ดีขึ้นหรือเปล่าเช่นเราอาจจะเป็นติวเตอร์เป็นติวเตอร์นะครับให้กับเพื่อนของเราที่อยู่ในห้องที่เรียนไม่เข้าใจเราอาจจะอธิบายให้เพื่อนได้เข้าใจมากขึ้น ซึ่งการเป็นติวเตอร์นี่แหละจะทำให้เรารู้ว่าเราเข้าใจอะไรถูกเข้าใจอะไรผิดเพราะว่าเพื่อนเราก็เป็น
กระจกสะท้อนอีกหนทางหนึ่งทำให้เราสามารถเป็นกูรูในเรื่องกันนานเลยก็ว่าได้

อันดับที่ 6 การติวหรือการกวดวิชาตามสถาบันกวดวิชาต่างๆ
สำหรับอันนี้เป็นผลทางในการอัพเกรดความรู้ของตัวเองที่ง่ายเข้าใจแต่มันจะมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นมานั่นก็คือถ้า take course ในสถาบันกวดวิชาต่างๆซึ่งบางสถาบันที่ดังๆก็จะมีค่าใช้คอร์ดที่แพงนะครับซึ่งมันก็ต้องให้เราในประเมินตัวเองว่าเราจะไป take course แล้วเราจะมีความสามารถที่จะรับความรู้ที่คุณครูหรือติวเตอร์ที่เขาติไวรัสได้มากน้อยเพียงใดถ้าเราคิดว่าเรายังไม่มีพื้นฐานแล้วไปเทสต์ครอสหรือไปหากลวิธีวิธีลัดในการทำโจทย์ต่างๆก็จะทำให้เราอาจจะต้องเสียเวลาไปโดยที่อาจจะงงบ้างไม่เข้าใจบ้างแล้วนั้นการติวหรือการกวดวิชาตามสถาบันทุกอย่างจากจะต้องมีพื้นฐานเบื้องต้นเพื่อใช้ในการต่อยอดตามที่คุณครูหรือติวเตอร์เขาได้สอนว่าจะทำให้เรานั้นเกิดประสิทธิภาพในการติวมากขึ้น ง่ายแล้วก็ประหยัดเวลาไม่ต้องอ่านหนังสือมากแต่ว่าก็ยังมีข้อเสียอยู่นั่นคือถ้าเราเลือกสถาบันกวดวิชาหรือติวเตอร์ที่ผิดไปก็ทำให้เราหลงทาง เสียเวลาอีกต่างหาก
อันดับที่ 7  เก็งข้อสอบ
ในการเรียนแต่ละครั้งอาจารย์จะมีคอร์สศิลปะให้ลืมเขาเรียกว่าประมวลรายวิชาหรือจุดประสงค์การเรียนรู้ซึ่งเราก็ต้องวิเคราะห์ดูว่าอาจารย์จะให้ค่าน้ำหนักในการออกข้อสอบในเนื้อหานั้นมากน้อยเพียงใดข้อสอบก็จะมีจำนวนมากหรือน้อยขึ้นกับจำนวนชั่วโมงที่อาจารย์สอนดังนั้นการที่เราจะไปทุ่มเทเวลาให้กับในแต่ละเนื้อหาในแต่ละบทแล้วก็ต้องดูว่าจำนวนชั่วโมงที่จัดการให้หรือค่าน้ำหนักที่ให้เนี่ยมันเหมาะสมที่เราจะไปทุ่มเทคะแนนมากน้อยเพียงใด และนอกจากนี้ถ้ามีจุดประสงค์ในการเรียนรู้ในแต่ละเรื่องที่ละเอียดค่อยทำให้เราสามารถโฟกัสแปลว่าอาจารย์ต้องออกเรื่องนี้เรื่องนั้นทำให้เราจะสามารถเก็งข้อสอบได้ตรงจุดมากขึ้นและเราก็มีโอกาสได้เกรด A มากขึ้นตามไปด้วย

No comments:

Post a Comment

โครงงานการศึกษาพฤติกรรมการออกไข่ของไก่ไข่

     การทดลองเลี้ยง ไก่ไข่ เพื่อใช้รับประทานอย่างปลอดภัย ปลอดสารพิษ สามารถทำได้ง่าย ที่บ้านผมเลี้ยงจำนวน 14 ตัว แบ่งเป้็น ไก่ไข่ ตัวเมีย 11 ...

Pageviews