1. ต่อมไร้ท่อในข้อใดที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้ำกลับคืนสู่ร่างกาย
ก.
Prolactin ข. ADH
ค. Thyroxin ง. Oxytocin
2. ฮอร์โมนอะไรที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดสีผิว
ก. Melanin ข. ADH
ค. Prolactin ง.
Somatotrophin
3. ฮอร์โมนกับผลที่เกิดคู่ใดไม่ถูกต้อง
ก. ออกซีโทซิน -
กระตุ้นมดลูกให้บีบตัวในช่วงคลอดลูก
ข. ไทรอกซิน
- กระตุ้นกระบวนการเมแทบอลิซึม
ค. อินซูลิน –
กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนในตับ
ง. ACTH
-
กระตุ้นการหลั่งกลูโคคอร์ติซอยด์ของอะดรีนัล คอร์เทกซ์
4. ข้อความใดที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนที่ไม่ถูกต้อง
ก.
ฮอร์โมนเป็นสารเคมีที่ถูกส่งไปยังเซลล์เป้าหมายโดยผ่านระบบหมุนเวียนเลือด
ข.
ฮอร์โมนที่เป็นสารประกอบประเภทเดียวกัน
ปกติแล้วจะทำหน้าที่เหมือน ๆ กัน
ค.
ฮอร์โมนควบคุมสมดุลด้วยการใช้การควบคุมในทางตรงกันข้าม
ง.
ฮอร์โมนหลั่งออกมาจากเซลล์พิเศษ
ซึ่งปกติอยู่ในต่อมไร้ท่อ
5. อวัยวะใดไม่สร้างฮอร์โมน
ก. ส่วนของหัวใจ ข.
ต่อมใต้สมองหน้า
ค. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ง. ต่อมไพเนียล
6. อวัยวะใดที่สามารถผลิตได้ทั้งน้ำย่อยและฮอร์โมน
ก. ตับ ข.
ตับอ่อน
ค.
ลำไส้เล็ก ง.
ลำไส้ใหญ่
7. ต่อมภายในร่างกายที่ทำหน้าที่ได้ทั้งต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อ
ก. ต่อมอะดรีนัลและตับ ข.
ตับอ่อนและอวัยวะสืบพันธุ์
14ฮอร์โมนที่มีบทบาทควบคุมการใช้แคลเซียมคือข้อใด
ก.
แคลซิโทนิน ข. ไทรอกซิน
ค.
กลูคากอน ง. พาราธอโมน
15. ข้อใด ไม่ใช่พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง
ก. การชักใยของแมงมุม
ข. การแทะมะพร้าวของกระรอก
ค. นกกระจาบแก่สร้างรังได้เร็วกว่าเด็ก
ง. ลูกไก่แรกเกิดจิกกินเมล็ดข้าว
16. พฤติกรรมคู่ใดต่อไปนี้มีพื้นฐานของการเกิดและการแสดงออกเพื่อจุดประสงค์ที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด
ก. คนพูดกับนกแก้วพูด
ข. สุนัขเห่ากับสุนัขหอน
ค. เด็กทารกร้องไห้กับจิ้งจกร้อง
ง. นกเขาขันกับนกยูงรำแพน
17. การเคลื่อนที่ของสเปิร์มเข้าหาไข่
จัดเป็นพฤติกรรมแบบใด
ก. ไคนีซิส ข. แทกซิส
ค. รีเฟล็กซ์ ง.สัญชาตญาณ
18. การเรียนรู้ (Learning) คืออะไร
ก.
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการมีอายุมากขึ้น
ข.
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยประสบการณ์ในอดีต
ค.การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
ง. ข้อ
ก และ ค ถูก
19. พฤติกรรมการเรียนรู้แบบที่เห็นได้ชัดเจนเฉพาะในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชั้นสูง คือ
ก. การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (condition)
ข. ความเคยชิน (Habituation)
ค. การลองผิดลองถูก (Trail and
error)
ง. การหยั่งรู้ (Insight learning)
|
ค. ตับและตับอ่อน ง. ตับอ่อนและต่อมน้ำลาย
8. อะโครเมกาลีเป็นโรคที่เกิดจากการมีฮอร์โมนใดมาก เมื่อตอนเป็นผู้ใหญ่
ก. Growth hormoneจาก ต่อมพิทูอิทารีส่วนหลัง
ข. Growth hormoneจากต่อมพิทูอิทารีส่วนหน้า
ค. Gonadotrophins จากต่อมพิทูอิทารีส่วนหลัง
ง. Thyroxin จาก Thyroid
9. โรคคอพอก เกิดขึ้นจากสาเหตุใด
ก.
ร่างกายไม่สร้าง Thyroxin
ข. ร่างกายไม่สร้าง ACTH
ค.
ร่างกายไม่สร้าง Prolactin ง. ร่างกายไม่สร้าง Oxytocin
10. การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อย่างกระทันหันถึงขนาดที่แสดงออกมาในลักษณะที่ฝืนกับอุปนิสัยเดิม
เช่น เอาปืนไปยิงบุคคลที่ยั่วโทสะ
เป็นผลจากการหลั่งฮอร์โมนใด
ก.
นอร์อะดรีนาลีน
ข.
อะดรีนาลีน
ค.
แอนตี้ไดยูเรติก
ง.
อินซูลิน
11. การที่ไก่ตัวผู้มีหงอน
และขนที่หางยาวกว่าไก่ตัวเมีย
เป็นเพราะการทำงานของฮอร์โมนใด
ก.
Cortisol ข. Estrogen
ค.
Testosterone ง. Glucagon
12. ต่อมไร้ท่อที่เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
และหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนมากที่สุดในร่างกายคือ
ก. รังไข่ ข.
ต่อมใต้สมอง
ค.
อัณฑะ ง. สายรก
13. ไอโอดีนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับ
ก.
ผลิต ACTH ข. ผลิต Thyroxin
ค.
ผลิตอินซูลิน ง. ผลิตกลูคากอน
20. สัญชาติญาณชนิดใดเหมาะสำหรับการสื่อสารในน้ำ
ก.
สารเคมี ข. การสัมผัส
ค. สัญญาณภาพ ง. สัญญาณเสียง
21. สิ่งที่ไม่จำเป็นต้องรู้เวลาศึกษาพฤติกรรมของสัตว์คือ
ก. ความเฉลียวฉลาดเฉพาะตัว
ข. การตอบสนองตามปกติ
ค. สภาพทางสรีรวิทยา
ง. ระดับจิตใจ
22. การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นแล้วไม่หายไปจนตลอดชีวิตคือ
ก.
ความฝังใจ
ข.
ความเคยชิน
ค.
การลองผิดลองถูก
ง.
การรู้จักใช้เหตุผล
23. เมื่อใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้นที่ผิวหนังบริเวณใกล้ ๆ คอสุนัข ทำให้สุนัขเกิดมีพฤติกรรมในการเกา แต่ถ้าใช้ไฟฟ้ากระตุ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาประมาณ 20
วินาที สุนัขจะเกาน้อยลงทุกที ๆ
จนหยุดเกาไปในที่สุด แต่ถ้าหยุดไม่กระตุ้นประมาณ 5
นาที
แล้วจึงกระตุ้นใหม่ในบริเวณที่เดิมด้วยกระแสไฟฟ้าที่มีความเข้มเท่าเดิม สุนัขจะเริ่มเกาใหม่ พฤติกรรมแบบนี้จัดเป็น
ก. Habituation ข. Imprinting
ค.
Trail and error ง.
Condition
|
ก.
Trial and error
ข.
Conditioning learning
ค.
Imprinting
ง.
Insight
25. พฤติกรรมของสัตว์ชั้นต่ำ เห็นได้ชัดว่าเป็นผลมาจากข้อใด
ก. สัญชาตญาณ ข. ประสบการณ์
ค. สภาพแวดล้อม ง.พันธุกรรม
26. สารใดไม่พบในกระเพาะปัสสาวะคนปกติ
ก.
โปรตีน ข. เกลือโซเดียม
ค. ยูเรีย ง. ถูกทุกข้อ
27. หลังจากร่างกายออกกำลังกายจะเป็นอย่างไร
ก.
ลดอัตราเมแทบอลิซึม และ
หลอดเลือดขยายตัว
ข. ลดอัตราเมแทบอลิซึม และ หลอดเลือดหดตัว
ค. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม
และ หลอดเลือดขยายตัว
ง. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม และ หลอดเลือดหดตั
28. เมื่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมลดลงมากๆ
คนมีการปรับตัวคือข้อใด
ก.
จำศีลเช่นเดียวกับกบ
ข. ปรับอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่
ค.
อุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม
ง. ไม่มีข้อถูก
|
29.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของร่างกายของสัตว์
ก.
อุณหภูมิร่างกายนกเพนกวินจะต่ำลงเมื่ออากาศหนาวขึ้น
ข.
กระรอกทะเลทรายจะห่วงเฮนเลสั้นกว่ากระรอกเมืองไทย
ค.
สุนัขข้างถนนหอบหายใจถี่ๆ เพราะต้องการระบายความร้อน
ง.
กบและหมีขั้วโลกจำศีลโดยมีวัตถุประสงค์ทางสรีระที่เหมือนกัน
30. เมื่อสมสมรเดินจากเซ็นทรัลไปยังตึกคอมซึ่งมีการปรับอุณหภูมิที่ 17
° C การเปลี่ยนแปลงที่ผิวหนังจะเป็นอย่างไร
A หลอดเลือดบริเวณนั้นหดตัว
B กล้ามเนื้อโคนขนหดตัว
C เซลล์มีอัตราการใช้ O2
ที่สูงขึ้น
ก. A และ B ข. A และ C
ค. B และ C ง. A B และ C
|
ใบงานชีววิทยา,ใบงานวิทยาศาสตร์,ใบงานเคมี,ข้อสอบชีววิทยา,ข้อสอบวิทยาศาสตร์,ข้อสอบเคมี,แผนการสอนชีววิทยา,แผนการสอนวิทยาศาตร์,แผนการจัดการเรียนรู้ชีววิทยา,ใบความรู้ชีววิทยา,การทดลองทางชีววิทยา,โอเน็ตวิทยาศาสตร์,แผนการสอนสะเต็มศึกษา, STEM, แนวทางการสอนวิทยาศาสตร์, โครงงานวิทยาศาสตร์,สื่อการสอนชีววิทยา,สื่อการสอนวิทยาศาสตร์,สื่อการสอนเคมี
Thursday 29 December 2016
ข้อสอบชีววิทยา เรื่อง ฮอร์โมน
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
โครงงานการศึกษาพฤติกรรมการออกไข่ของไก่ไข่
การทดลองเลี้ยง ไก่ไข่ เพื่อใช้รับประทานอย่างปลอดภัย ปลอดสารพิษ สามารถทำได้ง่าย ที่บ้านผมเลี้ยงจำนวน 14 ตัว แบ่งเป้็น ไก่ไข่ ตัวเมีย 11 ...
-
คลังข้อสอบชีววิทยา 1. ข้อสอบกลางภาคชีววิทยา ม.4-ม.6 2. ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.1 3. ข้อสอบดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 4. ข้อสอบชีววิทยา...
No comments:
Post a Comment